วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2558

ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน

    ระบบภูมิคุ้มกัน  เป็นระบบของร่างกายที่ตอบสนองต่อสิ่งแปลกปลอมต่างๆที่เข้าสู่ร่างกาย  หรือเกิดขึ้นในร่างกาย  เพื่อให้พ้นจากอันตราย  หรือโทษที่เกิดขึ้นจากสิ่งแปลกปลอมต่างๆ  ถ้ามีน้อยไปหรือมากไปก็จะมีผลเสีย  คือ  ก่อให้เกิดโรคต่างๆได้ 
ภาวะพร่องภูมิคุ้มกัน  (Immune   deficiency   disorders) อ่านเพิ่มเติมการควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต

การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่ายกาย

      โรคบางชนิดเมื่อเคยเป็นครั้งหนึ่งและรักษาหายแล้ว ร่างกายจะมีภูมิต้านทานต่อโรคนั้นทำให้ไม่เป็นโรคนั้นอีกตลอดไป เช่น โรคอีสุกอีใส เป็นต้น ทั้งนี้ก็เป็นเพราะว่า เซลล์ที ในร่างกายจะจดจำเชื้อโรคอีสุกอีใสนี้ได้ จึงกระตุ่นให้เซลล์บีพัฒนาเป็นเซลล์พลาสมาเพื่อสร้างแอนติบอดีไปจัดการกับแอนติเจนเชื้อโรคอีสุกอีใสนั้น  อ่านเพิ่มเติมการควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต

การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย

โดยปกติแล้วร่างกายของคนเรา มีกลไกในการป้องกันและกำจัดเชื้อโรคอยู่ตามธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเสมือนกับกำแพงเมือง ด่าน หรือป้อมปราการที่สร้างไว้สำหรับเป็นเครื่องกีดขว้าง สกัดกั้นหรือดักจับทำลายเชื้อโรค เพื่อไม่ให้เข้าไปทำอันตรายเซลล์ เนื้อเยื่อ หรืออวัยวะที่ทำหน้าที่สำคัญๆ ภายในร่างกายจนเกิดเป็นโรคร้ายแรงได้ ด่านหรืออวัยวะที่ช่วยป้องกันและกำจัดเชื้อโรคโดยอัตโนมัตินั้นมีอยู่ทั้งหมด 3 ด่านด้วยกันคือ อ่านเพิ่มเติมการควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต

กลไกการรักษาดุลยภาพ

การควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต
อ่านเพิ่มเติมการควบคุมสภาวะกรด-ด่าง หลักๆในร่างกาย มีกลไกลทางสรีรวิทยาอยู่ 3 แบบคือ --ทางเคมี --ทางการหายใจ และทางไต

การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องมีการรับสารจากภายนอก เช่น แร่งธาตุ น้ำ และอาหาร เข้าสู่เซลล์ เป็นต้น ในขณะเดียวกันเซลล์ก็จะกำจัดสารส่วนเกินหรือของเสียออกสู้ภายนอกด้วย เพื่อปรับหรือรักษาสภาพภายในเซลล์ให้เหมาะสมทำให้สามารถมีชีวิตได้ตามปกติ อ่านเพิ่มเติมhttps://sites.google.com/site/arthitiyaseesai/bth-thi-1-xyudi-mi-sukh/kar-laleiyng-sar-khea-laea-xxk-cak-sell 

เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์

เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้  จึงต้องมีเครื่องมือที่ช่วยในการมองเห็น  คือ  กล้องจุลทรรศน์  การศึกษาเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ได้ดำเนินมาอย่างต่อเนื่อง ควบคู่ไปกับการพัฒนาของกล้องจุลทรรศน์ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น  จนสามารถทำให้มองเห็นส่วนประกอบต่างๆภายในเซลล์ได้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น  ปัจจุบันการศึกษาเรื่องเซลล์ก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว  จึงสามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย  ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์และทางการแพทย์ อ่านเพิ่มเติมhttps://sites.google.com/site/arthitiyaseesai/bth-thi-1-xyudi-mi-sukh/sell-laea-xngkh-prakxb-sakhay-khxng-sell 

วันจันทร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2558

การแพร่

การแพร่ (diffusion) คือการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณที่มีความหนาแน่นสูงไปยังบริเวณที่มีความหนาแน่นของสารต่ำ โดยอาศัยพลังงานจลน์ของสารเอง (เคยออกข้อสอบเอนท์นะ)
(key word สำคัญ สารมากไปสารน้อย หรือบริเวณที่มีสารมากจะเคลื่อนที่ไปบริเวณที่มีสารน้อย)   โดยการแพร่มี 2 แบบดังนี้
1.1) การแพร่แบบธรรมดา (Simple diffusion) เป็นการแพร่ที่ไม่อาศัยตัวพา หรือตัวช่วยขนส่ง (carrier) ใดๆเลย เช่น การแพร่ของผงด่างทับทิมในน้ำจนทำให้น้ำมีสีม่วงแดงจนทั่วภาชนะ การได้กลิ่นผงแป้ง หรือ การได้กลิ่นน้ำหอม อ่านเพิ่มเติมhttp://www.scimath.org/socialnetwork/groups/viewbulletin/276-%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%88+(diffusion)?groupid=114